สรุปองค์ความรู้งานวิจัย เรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมเล่นเกมและพฤติกรรมารส่งเสริมการเล่นของบิดามารดาที่ต่อกระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
Science Experiences Management for Early Childhood
Electronic Portfolio of Science Experiences Management for Early Childhood
- Sirinya Jaithong
- Miss Sirinya Jaithong Student ID.5411201691 No.6 early childhood education.
วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 30 กันยายน 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอที่ยังไม่ได้นำเสนอ ดังนี้
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอที่ยังไม่ได้นำเสนอ ดังนี้
การทดลองย้อมผ้า |
การทดลองการไหนของน้ำ |
การทดลองปัดมะนาวตก |
การทดลองทีเด็ดน้ำยาล้างจาน |
การทดลองแรงดันน้ำอัดลม |
การทดลองสบู่ชุบพริกไทย |
การทดลองลาวา |
การทดลองไข่ไม่แตก |
สื่อเข้ามุม หีบสมบัติ |
สื่อเข้ามุม กล้องส่องรุ้ง |
สื่อเข้ามุม จับคู่เสียงหรรษา |
สือเข้ามุม ลูกข่างรูปทรง |
สื่อเข้ามุม เครื่องจักรลม |
สื่อเข้ามุม รถขวดน้ำ |
สื่อเข้ามุม ตกปลา |
สื่อเข้ามุม เงาอะไรเอ่ย |
วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 23 กันยายน 2556
วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 16 กันยายน 2556
เนื้อหาทีเรียน
วันนี้อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษานำงานทั้งหมดที่ยังไม่ได้นำเสนอมาเสนอในวันที่ 30 กันยายน 2556 จากนั้ันอาจารย์ได้มอบหมายให้อาจารย์เบียรืสอนนักศึกษาเรื่อง การทำ Cooking
อาจารย์เบียรให้จับกลุ่มกลุ่มละ 5-10 คน จากนั้ันให้ประชุมกันเพื่อเลือกอาหารที่จะนำเสนอ โดยมีดังนี้
กลุ่มหยก วุ้นมะพร้าว
กลุ่มเฟิร์น ข้าวผัด
กลุ่มนุ่น แซนวิชไข่
กลุ่มแอม แกงจืดหมูสับ
กลุ่มดิฉัน ไข่ตุ่น
กระดาษแผ่นที่ 1
กระดาษแผ่นที่ 2
กระดาษแผ่นที่ 3
งานที่ได้รับมอบหมาย
วันนี้อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษานำงานทั้งหมดที่ยังไม่ได้นำเสนอมาเสนอในวันที่ 30 กันยายน 2556 จากนั้ันอาจารย์ได้มอบหมายให้อาจารย์เบียรืสอนนักศึกษาเรื่อง การทำ Cooking
สรุปองค์ความรู้เรื่อง การจัดกิจกรรม cooking |
กลุ่มหยก วุ้นมะพร้าว
กลุ่มเฟิร์น ข้าวผัด
กลุ่มนุ่น แซนวิชไข่
กลุ่มแอม แกงจืดหมูสับ
กลุ่มดิฉัน ไข่ตุ่น
กระดาษแผ่นที่ 1
ไข่ตุ๋นแฟนซี |
ขั้นตอนการทำไข่ตุ๋น |
การจัดประสบการณ์ให้เด็ก |
งานที่ได้รับมอบหมาย
ให้กลุ่มที่ได้คะแนนโหวตสูงสุดเตรียมอุปกรณ์การทำ cooking มาในสัปดาห์หน้า
วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 8 กันยายน 2556 เรียนชดเชย
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้ส่งสื่อเข้ามุม ซึ่งสื่อเข้ามุมของกลุ่มดิฉันคือ วัฏจักรการเกิดฝน
อุปกรณ์
1.กล่องกระดาษ
2.โฟม
3.กระดาษสี
4.ทิชชู่
5.กาว
6.กระดาษฟอล์ย
7.แผ่นใส
8.ไม่ตะเกียบ
วิธีทำ
-ขั้้นตอนการทำเรื่องที่ต้องการ คือ สามารถตกแต่งฐานได้ตามที่ต้องการตามจินตนาการ
-ขั้ันตอนการทำฐานกล่อง
1.ตัดโฟมให้มีขนาดพอกล่องโดยทำเป็นบล็อกเพื่อเสียบฐานที่้ต้องการสอน
2.ห่อกล่องกระดาษด้านในด้วยกระดาษฟอล์ยทั้งหมด
3.ห่่อกล่องกระดาษด้านนอกด้วยกระดาษสีที่หลากหลายสี โดยขยำกระดาษก่อน
4.เจาะรูตรงกลางด้านหลังกล่องขนาดเส้นรอบวง 14 เซนติเมตร
-ขั้ันตอนการทำวงล้อหมุน
1.ตัดแผ่นใส่เปนรูปวงกลมขนาดเส้นรอบวง 13 เซนติเมตร จากนั้นเจาะรูครงกลางของแผ่นใส
2.ติดลูกศรที่ทำจากเปเปอร์มาเช่ จำนวน 3 ชิ้นให้มีระยะห่างกัน 2 เซนติเมตร
3..ตัดไม้ตะเกียบยาวขนาด 5 เซนติเมตร
4.เสียบไม้ตะเกียบที่รูตรงกลางแผ่นใส
5.ติดหัวไม้ตะเกียบด้วยกระดาษฟอยล์ ให้มีขนาดใหญ่กว่าไม้ตะเกียบเพื่อไม่ให้หลุด
6.เสียบไม้ตะเกียบที่ติดแผ่นใสลงบนฉากที่เจาะรูตรงกลางโดยห่างจากฉาก 1.5 เซนติเมตร และติดกาวร้อนเพื่อไม่ให้ ไม้ตะเกียบหลุด
7.ติดกาวร้อนที่ไม้ตะเกียบส่วนที่อยู่ด้านหลังฉากโดยห่างจากฉาก 1 เซนติเมตร
8.ติดลูกศรลงบนแผ่นใสจำนวน 3 ชิ้น โดยให้มีระยะห่างกันประมาณ 2 เซนติเมตร
ความคิดรวบยอด สอนเรื่องการเกิดฝน
วันนี้อาจารย์ให้ส่งสื่อเข้ามุม ซึ่งสื่อเข้ามุมของกลุ่มดิฉันคือ วัฏจักรการเกิดฝน
อุปกรณ์
1.กล่องกระดาษ
2.โฟม
3.กระดาษสี
4.ทิชชู่
5.กาว
6.กระดาษฟอล์ย
7.แผ่นใส
8.ไม่ตะเกียบ
วิธีทำ
-ขั้้นตอนการทำเรื่องที่ต้องการ คือ สามารถตกแต่งฐานได้ตามที่ต้องการตามจินตนาการ
-ขั้ันตอนการทำฐานกล่อง
1.ตัดโฟมให้มีขนาดพอกล่องโดยทำเป็นบล็อกเพื่อเสียบฐานที่้ต้องการสอน
2.ห่อกล่องกระดาษด้านในด้วยกระดาษฟอล์ยทั้งหมด
3.ห่่อกล่องกระดาษด้านนอกด้วยกระดาษสีที่หลากหลายสี โดยขยำกระดาษก่อน
4.เจาะรูตรงกลางด้านหลังกล่องขนาดเส้นรอบวง 14 เซนติเมตร
-ขั้ันตอนการทำวงล้อหมุน
1.ตัดแผ่นใส่เปนรูปวงกลมขนาดเส้นรอบวง 13 เซนติเมตร จากนั้นเจาะรูครงกลางของแผ่นใส
2.ติดลูกศรที่ทำจากเปเปอร์มาเช่ จำนวน 3 ชิ้นให้มีระยะห่างกัน 2 เซนติเมตร
3..ตัดไม้ตะเกียบยาวขนาด 5 เซนติเมตร
4.เสียบไม้ตะเกียบที่รูตรงกลางแผ่นใส
5.ติดหัวไม้ตะเกียบด้วยกระดาษฟอยล์ ให้มีขนาดใหญ่กว่าไม้ตะเกียบเพื่อไม่ให้หลุด
6.เสียบไม้ตะเกียบที่ติดแผ่นใสลงบนฉากที่เจาะรูตรงกลางโดยห่างจากฉาก 1.5 เซนติเมตร และติดกาวร้อนเพื่อไม่ให้ ไม้ตะเกียบหลุด
7.ติดกาวร้อนที่ไม้ตะเกียบส่วนที่อยู่ด้านหลังฉากโดยห่างจากฉาก 1 เซนติเมตร
8.ติดลูกศรลงบนแผ่นใสจำนวน 3 ชิ้น โดยให้มีระยะห่างกันประมาณ 2 เซนติเมตร
ความคิดรวบยอด สอนเรื่องการเกิดฝน
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 2 กันยายน 2556
เนื่องจากอาจารย์ติดประชุมจึงไม่มีการเรียนการสอน
ดิฉันจึงหาข้อมูลเพิ่มเติม บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ดิฉันจึงหาข้อมูลเพิ่มเติม บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ
วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามีพัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เป็นต้น เราสามารถเก็บข้อมูลได้มากมายเรียกใช้ข้อมูลประมวลความรู้และสื่อสารข้อมูลไปทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากเครื่องคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ช่ายให้เราเข้าใจตัวเองและโลกรอบตัว ความยิ่งใหญ่และความซับซ้อนของธรรมชาติทำให้เราพยายามอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจและแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวในจักรวาล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราเกิดความตระหนักมากขึ้นและพยายามที่เขียนอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไรสามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ เด็กสามารถสังเกตและสื่อสารเกี่ยวเรื่องดิน หิน อากาศและท้องฟ้า เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุ พลังงานจากแม่เหล็ก แสงและเสียง เด็กสามารถสำรวจลักษณะของน้ำและความร้อน สิ่งเหล่านี้ทำให้เด็กปฐมวัยเริ่มการทำงานทางวิทยาศาสตร์ เด็กสามารถแก้ปัญหาต่างๆโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องอื่นๆได้มากมาย กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาโดยทำให้เด็กได้รับความรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น การสังเกต การจำแนกประเภท การเรียงลำดับ การวัด การคาดคะแน และการสื่อสาร รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายนักวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และพัฒนาการทางอารมณ์เช่นเด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก
วิทยาศาสตร์หมายถึงการสืบค้นและอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ สภาพแวดล้อมและร่างกายมนุษย์ หรือวิทยาศาสตร์หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ โดยได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างมีขั้นตอนและมีระเบียบแบบแผน ความรู้ของข้อมูลต่างๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานและข้อมูลเพิ่มเติมขึ้นจากการค้นพบใหม่ที่เป็นปัจจุบันและที่ดีกว่าคือ ตัวอย่างและข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่สามารถทดสอบได้ มีขอบเขต มีระเบียบกฎเกณฑ์ มีการสังเกตการจดบันทึกการตั้งสมมติฐาน และอื่นๆ วิทยาศาสตร์มีขอบข่ายการศึกษาค่อนข้างกว้างขวาง แต่โดยสรุปแล้วก็คือ การศึกษาธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งอาศัยกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่มีขั้นตอนเป็นระเบียบแบบแผนตั้งแต่สมัยโบราณ มนุษย์พยายามเรียนรู้ทำความเข้าใจและอธิบายธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา อันได้แก่ พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง และปรากฏการณ์ต่างๆ จนนำไปสู่การกำหนดหลักการ กฎเกณฑ์ และทฤษฏี อันเป็นรากฐานของการศึกษาค้นคว้าแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้ศึกษาธรรมชาติและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แล้วสรุปเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ศึกษาความธรรมชาติและความสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน จนได้มาเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ เป็นต้น
Katz and Chard (1986. อ้างอิงจาก Cliatt & Shaw. 1992 : 3-4 ) อธิบายวัตถุประสงค์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ว่า ทำให้เกิดความรู้ ทักษะต่างๆ การจัดการและ ความรู้สึก ความรู้ประกอบด้วย ความคิด ข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอดและสารสนเทศ ทักษะประกอบด้วย พฤติกรรมทางร่างกาย สังคม การสื่อสารและการแสดงออกทางปัญญาเช่น การเล่นและการทำงานคนเดียวหรือกับคนอื่นๆ การแสดงความคิดผ่านภาษาโดยการพูดและการเขียน การจัดการกับกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยลักษณะนิสัยการทำงานด้วยความอดทน ความอยากรู้อยากเห็น การลงมือแสวงหาความรู้ด้วยการทดลองตามที่ได้วางแผนไว้ สนับสนุนให้ได้มาซึ่งความรู้ อัญชลี ไสยวรรณ(2547 :1-6 )กล่าวเพิ่มเติมว่ากิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กเรียนรู้วิธีการเรียนและการสร้างความมั่นใจของเด็ก ลดความกลัวในสิ่งที่ยังไม่รู้ จะนำไปสู่ความรู้สึกประสบความสำเร็จ การสนับสนุนความอยากรู้ของเด็ก กิจกรรมวิทยาศาสตร์เพิ่มความสนใจและความอยากรู้อยากเห็นในการทำงานร่วมกันเพื่อหาคำตอบจากคำถามทางวิทยาศาสตร์
ที่มา : http://www.e-child-edu.comกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนเด็กปฐมวัยมีความสำคัญหลายประการดังนี้
- ส่งเสริมการเห็นคุณค่าของตนเองและมีความกระตือรือร้น (คือเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้)
- ส่งเสริมการทำงานรายบุคคลและการคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาของเด็ก
- ยอมรับรูปแบบการเรียนรู้จากวัสดุอุปกรณ์ซึ่งจะช่วยสร้างประสบการณ์ที่เป็นธรรมชาติ การรับรู้และความพยายามของเด็กหลายคนจากการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีความสำคัญต่อการรับรู้ชีวิต เรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์การทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- เพื่อเป็นการช่วยอธิบายความเข้าใจด้วยตัวเองของเด็ก
- ดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมของเด็กที่ปรากฎ เช่น การแสดงความกังวลใจ เด็กที่เกิดความเบื่อ
- กิจกรรมการค้นพบช่วยให้ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ อยากสืบค้นต่อไป
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางสติปัญญาของเด็กจากการเรียนรู้ที่เด็กได้สัมผัสกับวัสดุอุปกรณ์ ทำให้เด็กมีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมที่มีความยากขึ้น เด็กได้เรียนรู้ภาษาและเนื้อหาสาระแบบบูรณาการ เช่น วิธีการได้รับประสบการณ์ทางภาษาแบบธรรมชาติต่อการอ่าน วิธีการสอนแบบโครงการต่อการพัฒนาหลักสูตร การใช้ประสาทสัมผัส และการใช้กล้ามเนื้ออย่างเหมาะสมกับวัย
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)