สรุปองค์ความรู้งานวิจัย เรื่อง ผลของการจัดกิจกรรมเล่นเกมและพฤติกรรมารส่งเสริมการเล่นของบิดามารดาที่ต่อกระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์ของเด็กปฐมวัย
Electronic Portfolio of Science Experiences Management for Early Childhood
- Sirinya Jaithong
- Miss Sirinya Jaithong Student ID.5411201691 No.6 early childhood education.
วันศุกร์ที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันอังคารที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 30 กันยายน 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอที่ยังไม่ได้นำเสนอ ดังนี้
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอที่ยังไม่ได้นำเสนอ ดังนี้
การทดลองย้อมผ้า |
การทดลองการไหนของน้ำ |
การทดลองปัดมะนาวตก |
การทดลองทีเด็ดน้ำยาล้างจาน |
การทดลองแรงดันน้ำอัดลม |
การทดลองสบู่ชุบพริกไทย |
การทดลองลาวา |
การทดลองไข่ไม่แตก |
สื่อเข้ามุม หีบสมบัติ |
สื่อเข้ามุม กล้องส่องรุ้ง |
สื่อเข้ามุม จับคู่เสียงหรรษา |
สือเข้ามุม ลูกข่างรูปทรง |
สื่อเข้ามุม เครื่องจักรลม |
สื่อเข้ามุม รถขวดน้ำ |
สื่อเข้ามุม ตกปลา |
สื่อเข้ามุม เงาอะไรเอ่ย |
วันจันทร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 23 กันยายน 2556
วันจันทร์ที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 16 กันยายน 2556
เนื้อหาทีเรียน
วันนี้อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษานำงานทั้งหมดที่ยังไม่ได้นำเสนอมาเสนอในวันที่ 30 กันยายน 2556 จากนั้ันอาจารย์ได้มอบหมายให้อาจารย์เบียรืสอนนักศึกษาเรื่อง การทำ Cooking
อาจารย์เบียรให้จับกลุ่มกลุ่มละ 5-10 คน จากนั้ันให้ประชุมกันเพื่อเลือกอาหารที่จะนำเสนอ โดยมีดังนี้
กลุ่มหยก วุ้นมะพร้าว
กลุ่มเฟิร์น ข้าวผัด
กลุ่มนุ่น แซนวิชไข่
กลุ่มแอม แกงจืดหมูสับ
กลุ่มดิฉัน ไข่ตุ่น
กระดาษแผ่นที่ 1
กระดาษแผ่นที่ 2
กระดาษแผ่นที่ 3
งานที่ได้รับมอบหมาย
วันนี้อาจารย์มอบหมายให้นักศึกษานำงานทั้งหมดที่ยังไม่ได้นำเสนอมาเสนอในวันที่ 30 กันยายน 2556 จากนั้ันอาจารย์ได้มอบหมายให้อาจารย์เบียรืสอนนักศึกษาเรื่อง การทำ Cooking
สรุปองค์ความรู้เรื่อง การจัดกิจกรรม cooking |
กลุ่มหยก วุ้นมะพร้าว
กลุ่มเฟิร์น ข้าวผัด
กลุ่มนุ่น แซนวิชไข่
กลุ่มแอม แกงจืดหมูสับ
กลุ่มดิฉัน ไข่ตุ่น
กระดาษแผ่นที่ 1
ไข่ตุ๋นแฟนซี |
ขั้นตอนการทำไข่ตุ๋น |
การจัดประสบการณ์ให้เด็ก |
งานที่ได้รับมอบหมาย
ให้กลุ่มที่ได้คะแนนโหวตสูงสุดเตรียมอุปกรณ์การทำ cooking มาในสัปดาห์หน้า
วันจันทร์ที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 8 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 8 กันยายน 2556 เรียนชดเชย
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้ส่งสื่อเข้ามุม ซึ่งสื่อเข้ามุมของกลุ่มดิฉันคือ วัฏจักรการเกิดฝน
อุปกรณ์
1.กล่องกระดาษ
2.โฟม
3.กระดาษสี
4.ทิชชู่
5.กาว
6.กระดาษฟอล์ย
7.แผ่นใส
8.ไม่ตะเกียบ
วิธีทำ
-ขั้้นตอนการทำเรื่องที่ต้องการ คือ สามารถตกแต่งฐานได้ตามที่ต้องการตามจินตนาการ
-ขั้ันตอนการทำฐานกล่อง
1.ตัดโฟมให้มีขนาดพอกล่องโดยทำเป็นบล็อกเพื่อเสียบฐานที่้ต้องการสอน
2.ห่อกล่องกระดาษด้านในด้วยกระดาษฟอล์ยทั้งหมด
3.ห่่อกล่องกระดาษด้านนอกด้วยกระดาษสีที่หลากหลายสี โดยขยำกระดาษก่อน
4.เจาะรูตรงกลางด้านหลังกล่องขนาดเส้นรอบวง 14 เซนติเมตร
-ขั้ันตอนการทำวงล้อหมุน
1.ตัดแผ่นใส่เปนรูปวงกลมขนาดเส้นรอบวง 13 เซนติเมตร จากนั้นเจาะรูครงกลางของแผ่นใส
2.ติดลูกศรที่ทำจากเปเปอร์มาเช่ จำนวน 3 ชิ้นให้มีระยะห่างกัน 2 เซนติเมตร
3..ตัดไม้ตะเกียบยาวขนาด 5 เซนติเมตร
4.เสียบไม้ตะเกียบที่รูตรงกลางแผ่นใส
5.ติดหัวไม้ตะเกียบด้วยกระดาษฟอยล์ ให้มีขนาดใหญ่กว่าไม้ตะเกียบเพื่อไม่ให้หลุด
6.เสียบไม้ตะเกียบที่ติดแผ่นใสลงบนฉากที่เจาะรูตรงกลางโดยห่างจากฉาก 1.5 เซนติเมตร และติดกาวร้อนเพื่อไม่ให้ ไม้ตะเกียบหลุด
7.ติดกาวร้อนที่ไม้ตะเกียบส่วนที่อยู่ด้านหลังฉากโดยห่างจากฉาก 1 เซนติเมตร
8.ติดลูกศรลงบนแผ่นใสจำนวน 3 ชิ้น โดยให้มีระยะห่างกันประมาณ 2 เซนติเมตร
ความคิดรวบยอด สอนเรื่องการเกิดฝน
วันนี้อาจารย์ให้ส่งสื่อเข้ามุม ซึ่งสื่อเข้ามุมของกลุ่มดิฉันคือ วัฏจักรการเกิดฝน
อุปกรณ์
1.กล่องกระดาษ
2.โฟม
3.กระดาษสี
4.ทิชชู่
5.กาว
6.กระดาษฟอล์ย
7.แผ่นใส
8.ไม่ตะเกียบ
วิธีทำ
-ขั้้นตอนการทำเรื่องที่ต้องการ คือ สามารถตกแต่งฐานได้ตามที่ต้องการตามจินตนาการ
-ขั้ันตอนการทำฐานกล่อง
1.ตัดโฟมให้มีขนาดพอกล่องโดยทำเป็นบล็อกเพื่อเสียบฐานที่้ต้องการสอน
2.ห่อกล่องกระดาษด้านในด้วยกระดาษฟอล์ยทั้งหมด
3.ห่่อกล่องกระดาษด้านนอกด้วยกระดาษสีที่หลากหลายสี โดยขยำกระดาษก่อน
4.เจาะรูตรงกลางด้านหลังกล่องขนาดเส้นรอบวง 14 เซนติเมตร
-ขั้ันตอนการทำวงล้อหมุน
1.ตัดแผ่นใส่เปนรูปวงกลมขนาดเส้นรอบวง 13 เซนติเมตร จากนั้นเจาะรูครงกลางของแผ่นใส
2.ติดลูกศรที่ทำจากเปเปอร์มาเช่ จำนวน 3 ชิ้นให้มีระยะห่างกัน 2 เซนติเมตร
3..ตัดไม้ตะเกียบยาวขนาด 5 เซนติเมตร
4.เสียบไม้ตะเกียบที่รูตรงกลางแผ่นใส
5.ติดหัวไม้ตะเกียบด้วยกระดาษฟอยล์ ให้มีขนาดใหญ่กว่าไม้ตะเกียบเพื่อไม่ให้หลุด
6.เสียบไม้ตะเกียบที่ติดแผ่นใสลงบนฉากที่เจาะรูตรงกลางโดยห่างจากฉาก 1.5 เซนติเมตร และติดกาวร้อนเพื่อไม่ให้ ไม้ตะเกียบหลุด
7.ติดกาวร้อนที่ไม้ตะเกียบส่วนที่อยู่ด้านหลังฉากโดยห่างจากฉาก 1 เซนติเมตร
8.ติดลูกศรลงบนแผ่นใสจำนวน 3 ชิ้น โดยให้มีระยะห่างกันประมาณ 2 เซนติเมตร
ความคิดรวบยอด สอนเรื่องการเกิดฝน
วันจันทร์ที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2556
วันที่ 2 กันยายน 2556
เนื่องจากอาจารย์ติดประชุมจึงไม่มีการเรียนการสอน
ดิฉันจึงหาข้อมูลเพิ่มเติม บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ดิฉันจึงหาข้อมูลเพิ่มเติม บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
ผู้แต่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อัญชลี ไสยวรรณ
วิทยาศาสตร์เป็นการศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับชีวิตของเรา ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ส่งผลให้เราสามารถดูแลสุขภาพได้ดีขึ้นและมีความเข้าใจเกี่ยวกับการโภชนาการ ผลจากการแสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เรามีความเป็นอยู่อย่างสะดวกสบาย เช่นเราจะรู้สึกว่าไม่มีความสุขหากอากาศร้อนมากวิทยาศาสตร์ช่วยให้เรามีพัดลมหรือแอร์ เราได้รับความบันเทิงทางเทคโนโลยีเช่นทีวี วิทยุ เป็นต้น เราสามารถเก็บข้อมูลได้มากมายเรียกใช้ข้อมูลประมวลความรู้และสื่อสารข้อมูลไปทั่วโลกได้อย่างรวดเร็วจากเครื่องคอมพิวเตอร์ วิทยาศาสตร์ช่ายให้เราเข้าใจตัวเองและโลกรอบตัว ความยิ่งใหญ่และความซับซ้อนของธรรมชาติทำให้เราพยายามอธิบายเพื่อสร้างความเข้าใจและแสวงหาความรู้เกี่ยวกับเรื่องราวในจักรวาล ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ทำให้เราเกิดความตระหนักมากขึ้นและพยายามที่เขียนอธิบายสิ่งที่เกิดขึ้นอย่างมีเหตุผล
เด็กเล็กๆมีธรรมชาติที่เป็นผู้ความอยากรู้อยากเห็น ชอบใช้คำถามว่า ทำไม อย่างไรสามารถแสวงหาความรู้จากสิ่งต่างๆรอบตัวเขาและเริ่มเข้าใจสภาพแวดล้อมที่เขาอาศัยอยู่ เด็กสามารถสังเกตและสื่อสารเกี่ยวเรื่องดิน หิน อากาศและท้องฟ้า เรียนรู้เกี่ยวกับวัตถุ พลังงานจากแม่เหล็ก แสงและเสียง เด็กสามารถสำรวจลักษณะของน้ำและความร้อน สิ่งเหล่านี้ทำให้เด็กปฐมวัยเริ่มการทำงานทางวิทยาศาสตร์ เด็กสามารถแก้ปัญหาต่างๆโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการเรียนรู้เรื่องอื่นๆได้มากมาย กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมพัฒนาการทางสติปัญญาโดยทำให้เด็กได้รับความรู้ พัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เช่น การสังเกต การจำแนกประเภท การเรียงลำดับ การวัด การคาดคะแน และการสื่อสาร รวมทั้งทักษะการแสวงหาความรู้ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กสนใจวัตถุและเหตุการณ์ เด็กเล็กมีวิธีการเรียนรู้คล้ายนักวิทยาศาสตร์สามารถทำงานด้วยทักษะการแสวงหาความรู้ กิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่งเสริมความสามารถในการคิดวิเคราะห์ และพัฒนาการทางอารมณ์เช่นเด็กมีความรู้สึกและเจตคติทางบวก
วิทยาศาสตร์หมายถึงการสืบค้นและอธิบายเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ สภาพแวดล้อมและร่างกายมนุษย์ หรือวิทยาศาสตร์หมายถึง ความรู้เกี่ยวกับสิ่งต่างๆในธรรมชาติ โดยได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างมีขั้นตอนและมีระเบียบแบบแผน ความรู้ของข้อมูลต่างๆ ที่นักวิทยาศาสตร์ค้นพบสามารถเปลี่ยนแปลงได้เมื่อมีหลักฐานและข้อมูลเพิ่มเติมขึ้นจากการค้นพบใหม่ที่เป็นปัจจุบันและที่ดีกว่าคือ ตัวอย่างและข้อมูลที่เกี่ยวกับข้อเท็จจริงที่สามารถทดสอบได้ มีขอบเขต มีระเบียบกฎเกณฑ์ มีการสังเกตการจดบันทึกการตั้งสมมติฐาน และอื่นๆ วิทยาศาสตร์มีขอบข่ายการศึกษาค่อนข้างกว้างขวาง แต่โดยสรุปแล้วก็คือ การศึกษาธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา ซึ่งอาศัยกระบวนการค้นคว้าหาความรู้ที่มีขั้นตอนเป็นระเบียบแบบแผนตั้งแต่สมัยโบราณ มนุษย์พยายามเรียนรู้ทำความเข้าใจและอธิบายธรรมชาติของสิ่งต่างๆ ที่อยู่รอบตัวเรา อันได้แก่ พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลง และปรากฏการณ์ต่างๆ จนนำไปสู่การกำหนดหลักการ กฎเกณฑ์ และทฤษฏี อันเป็นรากฐานของการศึกษาค้นคว้าแก้ปัญหาที่มีความซับซ้อนมากขึ้น เช่น ชาร์ลส์ ดาร์วิน ได้ศึกษาธรรมชาติและพฤติกรรมของสิ่งมีชีวิต แล้วสรุปเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ แอลเบิร์ต ไอน์สไตน์ ได้ศึกษาความธรรมชาติและความสัมพันธ์ของสสารกับพลังงาน จนได้มาเป็นทฤษฎีวิวัฒนาการ เป็นต้น
Katz and Chard (1986. อ้างอิงจาก Cliatt & Shaw. 1992 : 3-4 ) อธิบายวัตถุประสงค์การเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ว่า ทำให้เกิดความรู้ ทักษะต่างๆ การจัดการและ ความรู้สึก ความรู้ประกอบด้วย ความคิด ข้อเท็จจริง ความคิดรวบยอดและสารสนเทศ ทักษะประกอบด้วย พฤติกรรมทางร่างกาย สังคม การสื่อสารและการแสดงออกทางปัญญาเช่น การเล่นและการทำงานคนเดียวหรือกับคนอื่นๆ การแสดงความคิดผ่านภาษาโดยการพูดและการเขียน การจัดการกับกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ประกอบด้วยลักษณะนิสัยการทำงานด้วยความอดทน ความอยากรู้อยากเห็น การลงมือแสวงหาความรู้ด้วยการทดลองตามที่ได้วางแผนไว้ สนับสนุนให้ได้มาซึ่งความรู้ อัญชลี ไสยวรรณ(2547 :1-6 )กล่าวเพิ่มเติมว่ากิจกรรมวิทยาศาสตร์ทำให้เด็กเรียนรู้วิธีการเรียนและการสร้างความมั่นใจของเด็ก ลดความกลัวในสิ่งที่ยังไม่รู้ จะนำไปสู่ความรู้สึกประสบความสำเร็จ การสนับสนุนความอยากรู้ของเด็ก กิจกรรมวิทยาศาสตร์เพิ่มความสนใจและความอยากรู้อยากเห็นในการทำงานร่วมกันเพื่อหาคำตอบจากคำถามทางวิทยาศาสตร์
ที่มา : http://www.e-child-edu.comกิจกรรมวิทยาศาสตร์ในห้องเรียนเด็กปฐมวัยมีความสำคัญหลายประการดังนี้
- ส่งเสริมการเห็นคุณค่าของตนเองและมีความกระตือรือร้น (คือเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้)
- ส่งเสริมการทำงานรายบุคคลและการคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาของเด็ก
- ยอมรับรูปแบบการเรียนรู้จากวัสดุอุปกรณ์ซึ่งจะช่วยสร้างประสบการณ์ที่เป็นธรรมชาติ การรับรู้และความพยายามของเด็กหลายคนจากการมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมมีความสำคัญต่อการรับรู้ชีวิต เรียนรู้ภาษาจากประสบการณ์การทำกิจกรรมวิทยาศาสตร์
- เพื่อเป็นการช่วยอธิบายความเข้าใจด้วยตัวเองของเด็ก
- ดูแลเอาใจใส่ต่อพฤติกรรมของเด็กที่ปรากฎ เช่น การแสดงความกังวลใจ เด็กที่เกิดความเบื่อ
- กิจกรรมการค้นพบช่วยให้ผู้เรียนสนใจใฝ่รู้ อยากสืบค้นต่อไป
- ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพทางสติปัญญาของเด็กจากการเรียนรู้ที่เด็กได้สัมผัสกับวัสดุอุปกรณ์ ทำให้เด็กมีแรงจูงใจในการทำกิจกรรมที่มีความยากขึ้น เด็กได้เรียนรู้ภาษาและเนื้อหาสาระแบบบูรณาการ เช่น วิธีการได้รับประสบการณ์ทางภาษาแบบธรรมชาติต่อการอ่าน วิธีการสอนแบบโครงการต่อการพัฒนาหลักสูตร การใช้ประสาทสัมผัส และการใช้กล้ามเนื้ออย่างเหมาะสมกับวัย
วันจันทร์ที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 26 สิงหาคม 2556
วันจันทร์ที่ 19 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 19 สิงหาคม 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อการทดลองวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีดังนี้
จ๋า นำเสนอ พลังของกระดาษ
แอม นำเสนอ การสลายตัวของชอล์ก
บุ๋ม นำเสนอ พัดยกน้ำ
แอม นำเสนอ เป่าลูกโป่งด้วยขวด
ปูนิ่ม นำเสนอ ตะเกียบเสีียบได้
แกน นำเสนอ อากาศต้องการที่อยู่
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อการทดลองวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีดังนี้
จ๋า นำเสนอ พลังของกระดาษ
แอม นำเสนอ การสลายตัวของชอล์ก
บุ๋ม นำเสนอ พัดยกน้ำ
แอม นำเสนอ เป่าลูกโป่งด้วยขวด
ปูนิ่ม นำเสนอ ตะเกียบเสีียบได้
แกน นำเสนอ อากาศต้องการที่อยู่
วันเสาร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 17 สิงหาคม 2556 เรียนชดเชย
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อการทดลอง โดยการทดลองจะต้องมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.การกำหนดปัญหา
2.การตั้งสมมติฐาน
3.การทดลอง
4.การวิเคราะห์ข้อมูล
5.การสรุป
การทดลองต้องส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 7 ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต ( Observation ) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย
2.ทักษะการจำแนก ( Classifying ) หมายถึง ความสามรถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
3.ทักษะการวัด ( Measurement ) หมายถึง การใช้เครื่องมือต่าง ๆ วัดหาสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง
4.ทักษะสื่อความหมาย ( Communication ) หมายถึง การพูด การเขียน ภาษา ท่าทางและการแสดงสีหน้า สามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
5.ทักษะการลงความเห็น ( Inferring ) หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา ( Space Time Relationship ) หมายถึง ที่ว่างวัตถุนั้นครองที่ซึ่งระกอบด้วย ความกว้าง ความยาว ความหนา ขนาด ระยะ พื้นที่ ตำแหน่ง เวลา
7.ทักษะการคำนวณ ( Numeracy ) หมายถึง การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่าง ๆ
การนำเสนอสื่อการทดลอง มีดังนี้
หยง นำเสนอ การชั่งน้ำหนักบนดวงจันทร์
ริตา นำเสนอ ดอกไม้บาน
กุ้ง นำเสนอ น้ำไม่ล้น
หลัน นำเสนอ ลูกโป่งลากกระป๋อง
ฝน นำเสนอ น้ำแข็งลอยได้
อีฟ นำเสนอ น้ำมาจากไหน
2.น้ำ
3.เชือก
4.หนังยางสีเหลือง 1 เส้น สีแดง 1 เส้น
การจัดกิจกรรม
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอสื่อการทดลอง โดยการทดลองจะต้องมีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 4 ขั้นตอน ดังนี้
1.การกำหนดปัญหา
2.การตั้งสมมติฐาน
3.การทดลอง
4.การวิเคราะห์ข้อมูล
5.การสรุป
การทดลองต้องส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย 7 ทักษะ
1.ทักษะการสังเกต ( Observation ) หมายถึง การใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย
2.ทักษะการจำแนก ( Classifying ) หมายถึง ความสามรถในการแบ่งประเภทสิ่งของโดยหาเกณฑ์
3.ทักษะการวัด ( Measurement ) หมายถึง การใช้เครื่องมือต่าง ๆ วัดหาสิ่งที่เราต้องการทราบได้อย่างถูกต้อง
4.ทักษะสื่อความหมาย ( Communication ) หมายถึง การพูด การเขียน ภาษา ท่าทางและการแสดงสีหน้า สามารถรับข้อมูลได้อย่างถูกต้องและชัดเจน
5.ทักษะการลงความเห็น ( Inferring ) หมายถึง การเพิ่มเติมความคิดเห็นให้กับข้อมูลที่มีอยู่อย่างมีเหตุผล
6.ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างมิติกับเวลา ( Space Time Relationship ) หมายถึง ที่ว่างวัตถุนั้นครองที่ซึ่งระกอบด้วย ความกว้าง ความยาว ความหนา ขนาด ระยะ พื้นที่ ตำแหน่ง เวลา
7.ทักษะการคำนวณ ( Numeracy ) หมายถึง การนับจำนวนตัวเลขมากำหนดหรือบอกลักษณะต่าง ๆ
สรุปองค์ความรู้เรื่อง กระบวนการและทักษะทางวิทยาศาสตร |
หยง นำเสนอ การชั่งน้ำหนักบนดวงจันทร์
ริตา นำเสนอ ดอกไม้บาน
กุ้ง นำเสนอ น้ำไม่ล้น
หลัน นำเสนอ ลูกโป่งลากกระป๋อง
ฝน นำเสนอ น้ำแข็งลอยได้
อีฟ นำเสนอ น้ำมาจากไหน
การนำเสนอสื่อการทดลองวิทยาศาตร์ของดิฉัน ได้นำเสนอ เรื่อง การชั่งน้ำหนักบนดวงจันทร์
อุปกรณ์
1.ก้อนหิน 2.น้ำ
3.เชือก
4.หนังยางสีเหลือง 1 เส้น สีแดง 1 เส้น
การจัดกิจกรรม
วันจันทร์ที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2556
วันจันทร์ที่ 29 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันอาทิตย์ที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 28 กรกฏาคม 2556 เรียนชดเชย
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีดังนี้
เตย นำเสนอ เฮริคอบเตอร์จากกระดาษ
เฟิรส์ นำเสนอ ไก่กระต๊าก
ฝน นำเสนอ กังหันลมจิ๋ว
แอม นำเสนอ โบว์ลิ่ง
อีฟ นำเสนอ ใบพัดสามแฉก
ตาล นำเสนอ ลูกข่างกระดาษ
หลัน นำเสนอ ลูกข่างจากแผ่น CD
ริตา นำเสนอ เรือพลังยาง
ปูนิ่ม นำเสนอ คอปเตอ์จากไม้ไอติม
ฝน นำเสนอ รถไถด้วยหลอดด้าย
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนอวิธีการทำของเล่นวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีดังนี้
เตย นำเสนอ เฮริคอบเตอร์จากกระดาษ
เฟิรส์ นำเสนอ ไก่กระต๊าก
ฝน นำเสนอ กังหันลมจิ๋ว
แอม นำเสนอ โบว์ลิ่ง
อีฟ นำเสนอ ใบพัดสามแฉก
ตาล นำเสนอ ลูกข่างกระดาษ
หลัน นำเสนอ ลูกข่างจากแผ่น CD
ริตา นำเสนอ เรือพลังยาง
ปูนิ่ม นำเสนอ คอปเตอ์จากไม้ไอติม
ฝน นำเสนอ รถไถด้วยหลอดด้าย
วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 22 กรกฏาคม 2556
เนื่องจากวันนี้เป็นหยุดวันอาสาฬหบูชาและวันเข้าพรรษาจึงไม่มีการเรียนการสอน ดิฉันและเพือนมีโอกาสได้ไปชมงานแห่เทียนเข้าพรรษาที่จังหวัดอุบลราชธานี
วันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 15 กรกฏาคม 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้ออกมานำเสนอสื่อของเล่นวิทย์ศาสตร์สำหรับเด็ก ซึ่งของเล่นวิทยศาสตร์ คือ การประดิษฐ์ของเล่นทางวิทยาศาสตร์ที่เด็ก ๆ สามารถทำตามได้ ซึ่งมีเพื่อนนำเสนอดังนี้
หยก : นำเสนอ เลี้ยงลูกบอลด้วยลม สอนเรื่อง อากาศ
ออย : นำเสนอ กังหันลม สอนเรื่อง อากาศ
เฟิร์น : นำเสนอ ไก่กระต๊าก สอนเรื่อง เสียง
อ๊อฟ : นำเสนอ เครื่องบินแรงดันอากาศ สอนเรื่อง อากาศ
แอม : นำเสนอ เป่าลม สอนเรื่อง อากาศ
หยง : นำเสนอ ไข่ล้มลุก สอนเรื่อง แรงโน้มถ่วง
จู : นำเสนอ ปีนขวดน้ำ สอนเรื่่อง อากาศ
ริตา : นำเสนอ เรือพลังยาง สอนเรื่อง น้ำ
ปริม : นำเสนอ จานหมุนมีชีวิต สอนเรื่อง การซ้อนภาพ
ปรางค์ : นำเสนอ กล้องผสมสี สอนเรื่อง สี
ไอซ์ : นำเสนอ ขวดผิวปาก สอนเรื่อง เสียง
จากนั้ันอาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอวิธีการทำในสัปดาห์หน้า พร้อมนำเสนอใน Blog ของตัวเอง ซึ่งสื่อของเล่นของดิฉันอาจารย์บอกมันยังไม่ใช่เรื่องวิทยศาสตร์ ดิฉันจึงทำสื่อใหม่ คืือ เสียงพาเพลิน
ซึ่งมีวิธีการทำดังนี้
อุปกรณ์
1.ลูกปิงปอง จำนวน 3 ลูก
2.เมล็ดถั่วเขียว
3.เทปใส
4.กระดาษฟล์อย
5.เข็ม
วิธีการทำ
1.เจาะลูกปิงปองทั้ง 3 ลูกเพื่อใส่เมล็ดถั่วเขียว
2.ใส่เมล็ดถั่วเขียว โดยแต่ละลูกจะใส่ในปริมาณที่ต่างกัน
3.ปิดรูด้วยเทปใส
4.ห่อลูกปิงปองด้วยกระดาษฟล์อย
วิธีเล่น
ให้เด็กสั่นเพื่อจำแนกเสียง
แนวคิด
สอนการเกิดเสียงและการจำแนกเสียง
วันนี้อาจารย์ให้ออกมานำเสนอสื่อของเล่นวิทย์ศาสตร์สำหรับเด็ก ซึ่งของเล่นวิทยศาสตร์ คือ การประดิษฐ์ของเล่นทางวิทยาศาสตร์ที่เด็ก ๆ สามารถทำตามได้ ซึ่งมีเพื่อนนำเสนอดังนี้
หยก : นำเสนอ เลี้ยงลูกบอลด้วยลม สอนเรื่อง อากาศ
ออย : นำเสนอ กังหันลม สอนเรื่อง อากาศ
เฟิร์น : นำเสนอ ไก่กระต๊าก สอนเรื่อง เสียง
อ๊อฟ : นำเสนอ เครื่องบินแรงดันอากาศ สอนเรื่อง อากาศ
แอม : นำเสนอ เป่าลม สอนเรื่อง อากาศ
หยง : นำเสนอ ไข่ล้มลุก สอนเรื่อง แรงโน้มถ่วง
จู : นำเสนอ ปีนขวดน้ำ สอนเรื่่อง อากาศ
ริตา : นำเสนอ เรือพลังยาง สอนเรื่อง น้ำ
ปริม : นำเสนอ จานหมุนมีชีวิต สอนเรื่อง การซ้อนภาพ
ปรางค์ : นำเสนอ กล้องผสมสี สอนเรื่อง สี
ไอซ์ : นำเสนอ ขวดผิวปาก สอนเรื่อง เสียง
จากนั้ันอาจารย์ให้นักศึกษานำเสนอวิธีการทำในสัปดาห์หน้า พร้อมนำเสนอใน Blog ของตัวเอง ซึ่งสื่อของเล่นของดิฉันอาจารย์บอกมันยังไม่ใช่เรื่องวิทยศาสตร์ ดิฉันจึงทำสื่อใหม่ คืือ เสียงพาเพลิน
ซึ่งมีวิธีการทำดังนี้
อุปกรณ์
1.ลูกปิงปอง จำนวน 3 ลูก
2.เมล็ดถั่วเขียว
3.เทปใส
4.กระดาษฟล์อย
5.เข็ม
วิธีการทำ
1.เจาะลูกปิงปองทั้ง 3 ลูกเพื่อใส่เมล็ดถั่วเขียว
2.ใส่เมล็ดถั่วเขียว โดยแต่ละลูกจะใส่ในปริมาณที่ต่างกัน
3.ปิดรูด้วยเทปใส
4.ห่อลูกปิงปองด้วยกระดาษฟล์อย
วิธีเล่น
ให้เด็กสั่นเพื่อจำแนกเสียง
แนวคิด
สอนการเกิดเสียงและการจำแนกเสียง
วันจันทร์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 8 กรกฏาคม 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำกระดาษ A4 มา 1 แผ่นแล้วพับให้ได้จำนวน 8 ช่อง จากนั้ันให้ตัดกระดาษแล้วเย็บเป็นเล่ม แล้วอาจารย์ก็ให้วาดรูปที่มีเรื่องราวโดยวาดรูปแต่ละหน้าเหมือนกันแต่ต้องเพิ่มรูปภาพอีกหนึ่งรูปเมื่อวาดครบให้เปิดหนังสือทีละหน้าอย่างรวดเร็ว
จากนั้นอาจารย์ให้นำกระดาษที่ตัดไว้จำนวน 2 แผ่น โดยแผ่นที่ 1 วาดรูปดอกไม้ แผ่นที่ 2 วาดรูปผีเสื้อโดยรูปผีเสื้ออยู่ตำแหน่งเหนือดอกไม้เล็กน้อย
จากนั้ันอาจารย์ให้เปิดวิดีโอเรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ สรุปได้ดังนี้
1.ทุกสิ่งทุกอย่างมีน้ำเป็นส่วนประกอบ ร่างกายของมนุษย์มีน้ำในร่างกาย 75 % ดังนั้ันหากเราขาดน้ำจะรู้สึกกระหายและระบายความร้อยโดยการเสียเหงื่อ
2.การปรับอุณหภูมิในร่างกายของมนุษย์ มนุษย์สามารถขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
3.การเกิดฝนเกิดจากการเปลี่ียนสถานะของน้ำ ดังนี้
-น้ำจากแหล่งแหล่งน้ำจะระเหยกลาบเป็นไอ
-เมื่อไอน้ำระเหยจะเกิดการควบแน่นกลายเป็นก้อนเมฆ
-เมื่อก้อนเมฆมีความหนาแน่นมากและเกิดลมร้อนมาปะทะก้อนเมฆก็ะกลั่นนตัวเป็นฝน
-เมื่อฝนตกลงมาก็จะไปร่วมกันที่แหล่งน้ำ
4.คุณสมบัติของน้ำ
-ของแข็ง อยู่ในรูปน้ำแข็ง
-ของเหลว อยู่ในรูปน้ำ
-ก๊าซ อยู่ในรูปก๊าซชนิดต่าง ๆ
5.น้ำจะมีโมเลกุลที่พอดี ก๊าซจะมีโมเลกุลที่หลอมกว่า
6.การลอยน้ำในทะเลแล้วไม่จเนื่องจากเกลือมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำทำให้ช่วยพยุงวัตถุ นอกจากนั้ันเกลือยังทำให้บริเวณนั้ันเย็นจัดอีกด้วยเเนื่องจากสามารถดูดความร้อน
7.ควาลึกของน้ำยิ่งถาลึก ความกดดันก็ยิ่งมีมาก เช่น กาทำเขื่อน
8.แรงตึงผิว คือบริเวณผิวน้ำที่น้ำช่วยพยุงของบางอย่างไม่ให้จมได้ แต่หากนำสบู่มาจุ่มน้ำก็จะลดแรงตึงผิว
9.ปรากฏการณ์ท่อรูเข็ม
ตัวอย่างของเล่น เช่น หมึกมีโพรง เรือ
วันนี้อาจารย์ให้นำกระดาษ A4 มา 1 แผ่นแล้วพับให้ได้จำนวน 8 ช่อง จากนั้ันให้ตัดกระดาษแล้วเย็บเป็นเล่ม แล้วอาจารย์ก็ให้วาดรูปที่มีเรื่องราวโดยวาดรูปแต่ละหน้าเหมือนกันแต่ต้องเพิ่มรูปภาพอีกหนึ่งรูปเมื่อวาดครบให้เปิดหนังสือทีละหน้าอย่างรวดเร็ว
จากนั้นอาจารย์ให้นำกระดาษที่ตัดไว้จำนวน 2 แผ่น โดยแผ่นที่ 1 วาดรูปดอกไม้ แผ่นที่ 2 วาดรูปผีเสื้อโดยรูปผีเสื้ออยู่ตำแหน่งเหนือดอกไม้เล็กน้อย
จากนั้ันอาจารย์ให้เปิดวิดีโอเรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ สรุปได้ดังนี้
1.ทุกสิ่งทุกอย่างมีน้ำเป็นส่วนประกอบ ร่างกายของมนุษย์มีน้ำในร่างกาย 75 % ดังนั้ันหากเราขาดน้ำจะรู้สึกกระหายและระบายความร้อยโดยการเสียเหงื่อ
2.การปรับอุณหภูมิในร่างกายของมนุษย์ มนุษย์สามารถขาดน้ำได้ไม่เกิน 3 วัน
3.การเกิดฝนเกิดจากการเปลี่ียนสถานะของน้ำ ดังนี้
-น้ำจากแหล่งแหล่งน้ำจะระเหยกลาบเป็นไอ
-เมื่อไอน้ำระเหยจะเกิดการควบแน่นกลายเป็นก้อนเมฆ
-เมื่อก้อนเมฆมีความหนาแน่นมากและเกิดลมร้อนมาปะทะก้อนเมฆก็ะกลั่นนตัวเป็นฝน
-เมื่อฝนตกลงมาก็จะไปร่วมกันที่แหล่งน้ำ
4.คุณสมบัติของน้ำ
-ของแข็ง อยู่ในรูปน้ำแข็ง
-ของเหลว อยู่ในรูปน้ำ
-ก๊าซ อยู่ในรูปก๊าซชนิดต่าง ๆ
5.น้ำจะมีโมเลกุลที่พอดี ก๊าซจะมีโมเลกุลที่หลอมกว่า
6.การลอยน้ำในทะเลแล้วไม่จเนื่องจากเกลือมีความหนาแน่นมากกว่าน้ำทำให้ช่วยพยุงวัตถุ นอกจากนั้ันเกลือยังทำให้บริเวณนั้ันเย็นจัดอีกด้วยเเนื่องจากสามารถดูดความร้อน
7.ควาลึกของน้ำยิ่งถาลึก ความกดดันก็ยิ่งมีมาก เช่น กาทำเขื่อน
8.แรงตึงผิว คือบริเวณผิวน้ำที่น้ำช่วยพยุงของบางอย่างไม่ให้จมได้ แต่หากนำสบู่มาจุ่มน้ำก็จะลดแรงตึงผิว
9.ปรากฏการณ์ท่อรูเข็ม
ตัวอย่างของเล่น เช่น หมึกมีโพรง เรือ
สรุปองค์ความรู้เรื่อง มหัศจรรย์ของน้ำ |
การเกิดฝน |
วันจันทร์ที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556
วันที่ 1 กรกฏาคม 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานที่สรุปในสัปดาห์ที่แล้วคือวันที่ 24 มิถุนายน 2556
*หมายเหตุ คลิกที่รูปถาพเพื่อชมภาพที่ขนาดใหญ่ขึ้น
จากนั้ันอาจารย์ให้ดูวิดีโอเรื่อง ความลับของแสง สรุปได้ดังนี้
1.การที่เราไม่เห็นแสงในบางคร้งเป็นเพราะตายังปรับตัวไม่ได้ เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณของเเสง
2.แสงเป็นคลื่นที่มีความยาวสั้ัน เคลื่อนไหวได้เร็ว
3.แสงช่วยในการมองเห็นเพราะเมื่อแสงส่องลงมายังวัตถุจะเิกิดการสะท้อนเข้ามาในตา
4.คุณสมบัติของแสง
-เป็นวัตถุโปร่งแสง
-เป็นวัตถุโปร่งใส
-เป็นวัตถุทึบแสง
5.การเคลื่อนที่ของแสงเป็นทิศทางเดียวกัน
6.ประโยชน์ของแสง
-การทำกล้องฉายภาพ
-การทำภาพกลับหัว
7.การสะท้อนของแสง เกิดจากการสะท้อนของวัตถุที่อยู่ตรงข้าม
-การบีบมุมของกระจกจะทำให้เกิดรูปภาพที่มีจำนวนมากขึ้น
-การทำกล้องไฮโดรสโคป
-การทำกล้องสเตริโอ
8.การหักเหของแสง เกิดจากการเปลี่ียนทิศทางการเคลื่อนที่ เพราะแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
-เลนส์นูนส์
-การเกิดรุ้งกินน้ำ
9.การเกิดเงา เกิดจากสิ่งตรงข้ามของวัตถุ
วันนี้อาจารย์ให้นำเสนองานที่สรุปในสัปดาห์ที่แล้วคือวันที่ 24 มิถุนายน 2556
Mind mapping เรื่อง ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์ |
จากนั้ันอาจารย์ให้ดูวิดีโอเรื่อง ความลับของแสง สรุปได้ดังนี้
1.การที่เราไม่เห็นแสงในบางคร้งเป็นเพราะตายังปรับตัวไม่ได้ เนื่องจากเกิดการเปลี่ยนแปลงปริมาณของเเสง
2.แสงเป็นคลื่นที่มีความยาวสั้ัน เคลื่อนไหวได้เร็ว
3.แสงช่วยในการมองเห็นเพราะเมื่อแสงส่องลงมายังวัตถุจะเิกิดการสะท้อนเข้ามาในตา
4.คุณสมบัติของแสง
-เป็นวัตถุโปร่งแสง
-เป็นวัตถุโปร่งใส
-เป็นวัตถุทึบแสง
5.การเคลื่อนที่ของแสงเป็นทิศทางเดียวกัน
6.ประโยชน์ของแสง
-การทำกล้องฉายภาพ
-การทำภาพกลับหัว
7.การสะท้อนของแสง เกิดจากการสะท้อนของวัตถุที่อยู่ตรงข้าม
-การบีบมุมของกระจกจะทำให้เกิดรูปภาพที่มีจำนวนมากขึ้น
-การทำกล้องไฮโดรสโคป
-การทำกล้องสเตริโอ
8.การหักเหของแสง เกิดจากการเปลี่ียนทิศทางการเคลื่อนที่ เพราะแสงเดินทางผ่านตัวกลางที่ต่างกัน
-เลนส์นูนส์
-การเกิดรุ้งกินน้ำ
9.การเกิดเงา เกิดจากสิ่งตรงข้ามของวัตถุ
สรุปองค์ความรู้เรื่อง ความลัยของแสง |
วันจันทร์ที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันที่ 24 มิถุนายน 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์ได้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน จำนวน 6 กลุ่มแล้วให้อ่านใบความรู้โดยแต่ละกลุ่มจะมีหัวข้อที่ต้องรับผิดชอบเพื่อนำไปอธิบายให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟังแต่ทุกกลุ่มจะต้องอ่านใบความรู้ทุกหัวข้อจากนั้ันให้สรุป โดยมีหัวข้อดังนี้
1.ความหมายทางวิทยาศาสตร์
2,ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
3.ทฤษฎีทางสติปัญญา
4.การเรียนรู้
5.แนวคิดทางวิทยาศาสตร์
6.กระบวนการทางวิทยาศาตร์
โดยกลุ่มของดิฉันได้สรุปเรื่อง ความหมายทางวิทยาศาสตร์และ เรื่องความสำคัญของวิทยาศาสตร์
สรุปเนื้อหาทั้งหมด
1.ความหมายของวิทยาศาสตร์
พจนานุกรมได้ให้ความหมาย คือความรู้ที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้าแล้วจัดเป็นระเบียบ มีเหตุผล หลักการ
2.ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ทำใ้ห้พัฒนาคนแล้วจึงจะทำหน้าที่พัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อให้เกิดนวัตรกรรมใหม่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์
3.ทฤษฎีทางสติปัญญา
เป็นความสามารถด้านความคิดซึ่งแต่ละคนมีไม่เท่ากัน การเรียนรู้จะเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทำให้เด็กรู้ว่าจะรู้ได้อย่างไร
กระบวนการการมีปฏิสัมพันธ์มี 2 องค์ประกอบ
-กระบวนการดูดซึม ( Assimilation ) คือ การที่มนุษย์มรประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมมีการใช้ประสาทสัมผัสผ่านการทำงานของสมอง
-การเปลียนโครงสร้าง ( Accomodation ) คือ การเปลี่ยนประสบกาณ์ก็ทำให้เข้าใจสิ่งแวดล้อมและเปลี่ยนความคิดใ้ห้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม
4.การเรียนรู้
การเรียนู้เกิดจากสมองเป็นตัวสั่งการโดยการทำงานของสมองจะมีโครงสร้างที่ซับซ้อนและมีเส้นประสาทเป็นล้านๆ เซล์ล
5.แนวคิดทางวิทยาศาสตร์
เกรก คือผู้ที่แบ่งแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ออกเป็น 5 ประการดังนี้
-การเปลี่ยนแปลง ( Change ) คือ มีการเข้าใจว่าทุกสิ่งทุกอย่างสามารเปลี่ยนแปลงได้ตลอด
-ความหลากหลาย ( Variety ) คือ ความแตกต่างของทุกสิ่งทั้งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
-การปรับตัว ( Adjustment ) คือ การปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อม
-การพึ่งพา ( Dependence ) คือทุกสิ่งทุกอย่างยอมมีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
-การปรับสมดุล ( Equilibrium ) คือการต่อสู้เพื่อดำรงชีพและเผ่าพันธุ์
6.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
6.1 การกำหนดปัญหา
6.2 การตั้งสมมุติฐาน
6.3 การทดลอง
6.4 การเก็บข้อมูล
6.5 การสรุปผล
กิจกรรม
อาจารย์ให้ดูวิดิโอเกี่ยวกับเรื่องอากาศ ซึ่งวิดีโอจะบอกที่มาของอากาศ ลักษณะของอากาศ สถานะของอากาศ และมีตัวอย่างการทดลองอากาศ เช่น การเอากระดาษใส่ถ้วยแล้วคว่ำ
การทดลองที่ทำให้ไม่ไหล เพราะมีอากาศมาดันไว้ การชั่งน้ำหนักของลูกโป่งที่มีขนาดเท่ากัน
*หมายเหตุ ถ้าต้องการได้รูปภาพขนาดใหญ่คลิกทีรูปภาพ
วันนี้อาจารย์ได้แบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 6 คน จำนวน 6 กลุ่มแล้วให้อ่านใบความรู้โดยแต่ละกลุ่มจะมีหัวข้อที่ต้องรับผิดชอบเพื่อนำไปอธิบายให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟังแต่ทุกกลุ่มจะต้องอ่านใบความรู้ทุกหัวข้อจากนั้ันให้สรุป โดยมีหัวข้อดังนี้
1.ความหมายทางวิทยาศาสตร์
2,ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
3.ทฤษฎีทางสติปัญญา
4.การเรียนรู้
5.แนวคิดทางวิทยาศาสตร์
6.กระบวนการทางวิทยาศาตร์
โดยกลุ่มของดิฉันได้สรุปเรื่อง ความหมายทางวิทยาศาสตร์และ เรื่องความสำคัญของวิทยาศาสตร์
สรุปเนื้อหาทั้งหมด
1.ความหมายของวิทยาศาสตร์
พจนานุกรมได้ให้ความหมาย คือความรู้ที่ได้จากการสังเกต ค้นคว้าแล้วจัดเป็นระเบียบ มีเหตุผล หลักการ
2.ความสำคัญของวิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์ทำใ้ห้พัฒนาคนแล้วจึงจะทำหน้าที่พัฒนาวิทยาศาสตร์เพื่อให้เกิดนวัตรกรรมใหม่เพื่ออำนวยความสะดวกแก่มนุษย์
3.ทฤษฎีทางสติปัญญา
เป็นความสามารถด้านความคิดซึ่งแต่ละคนมีไม่เท่ากัน การเรียนรู้จะเกิดจากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะทำให้เด็กรู้ว่าจะรู้ได้อย่างไร
กระบวนการการมีปฏิสัมพันธ์มี 2 องค์ประกอบ
-กระบวนการดูดซึม ( Assimilation ) คือ การที่มนุษย์มรประสบการณ์กับสิ่งแวดล้อมมีการใช้ประสาทสัมผัสผ่านการทำงานของสมอง
-การเปลียนโครงสร้าง ( Accomodation ) คือ การเปลี่ยนประสบกาณ์ก็ทำให้เข้าใจสิ่งแวดล้อมและเปลี่ยนความคิดใ้ห้สอดคล้องกับสิ่งแวดล้อม
4.การเรียนรู้
การเรียนู้เกิดจากสมองเป็นตัวสั่งการโดยการทำงานของสมองจะมีโครงสร้างที่ซับซ้อนและมีเส้นประสาทเป็นล้านๆ เซล์ล
5.แนวคิดทางวิทยาศาสตร์
เกรก คือผู้ที่แบ่งแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ออกเป็น 5 ประการดังนี้
-การเปลี่ยนแปลง ( Change ) คือ มีการเข้าใจว่าทุกสิ่งทุกอย่างสามารเปลี่ยนแปลงได้ตลอด
-ความหลากหลาย ( Variety ) คือ ความแตกต่างของทุกสิ่งทั้งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
-การปรับตัว ( Adjustment ) คือ การปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อม
-การพึ่งพา ( Dependence ) คือทุกสิ่งทุกอย่างยอมมีการพึ่งพาซึ่งกันและกัน
-การปรับสมดุล ( Equilibrium ) คือการต่อสู้เพื่อดำรงชีพและเผ่าพันธุ์
6.กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
6.1 การกำหนดปัญหา
6.2 การตั้งสมมุติฐาน
6.3 การทดลอง
6.4 การเก็บข้อมูล
6.5 การสรุปผล
กิจกรรม
อาจารย์ให้ดูวิดิโอเกี่ยวกับเรื่องอากาศ ซึ่งวิดีโอจะบอกที่มาของอากาศ ลักษณะของอากาศ สถานะของอากาศ และมีตัวอย่างการทดลองอากาศ เช่น การเอากระดาษใส่ถ้วยแล้วคว่ำ
การทดลองที่ทำให้ไม่ไหล เพราะมีอากาศมาดันไว้ การชั่งน้ำหนักของลูกโป่งที่มีขนาดเท่ากัน
สรุปองค์ความรู้ |
กำลังสรุปความรู้ที่ได้จากใบความรู้ |
*หมายเหตุ ถ้าต้องการได้รูปภาพขนาดใหญ่คลิกทีรูปภาพ
วันจันทร์ที่ 17 มิถุนายน พ.ศ. 2556
วันที่ 17 มิถุนายน 2556
เนื้อหาที่เรียน
วันนี้อาจารย์นิเทศการเรียนรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science Experiences Management for Early Childhood) โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรม
1.อาจารย์ให้เขียนคิดว่าจะได้อะไรจากวิชานี้ ซึ่งดิฉันได้เขียนดังนี้
-ได้รู้ว่าวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กมีการสอนในเรื่องใดบ้าง
-ได้รู้วิธีการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
-ได้ทำสื่อวิทยาศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย
1.ทำ Blog โดยส่วนไหนที่ใส่ภาษาอังกฤษได้ใ้ห้ใส่
2.ใส่แผนการเรียนใน blog
วันนี้อาจารย์นิเทศการเรียนรายวิชาการจัดประสบการณ์ทางวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (Science Experiences Management for Early Childhood) โดยมีรายละเอียดดังนี้
กิจกรรม
1.อาจารย์ให้เขียนคิดว่าจะได้อะไรจากวิชานี้ ซึ่งดิฉันได้เขียนดังนี้
-ได้รู้ว่าวิทยาศาสตร์สำหรับเด็กมีการสอนในเรื่องใดบ้าง
-ได้รู้วิธีการสอนวิทยาศาสตร์สำหรับเด็ก
-ได้ทำสื่อวิทยาศาสตร์
งานที่ได้รับมอบหมาย
1.ทำ Blog โดยส่วนไหนที่ใส่ภาษาอังกฤษได้ใ้ห้ใส่
2.ใส่แผนการเรียนใน blog
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)